ความเข้าใจในการใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นต่างๆ
จุลินทรีย์คือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก คุณสมบัติเด่นๆคือ การย่อยสลายของเสียและของดี จุลินทรีย์ในโลกนี้มีอยู่ 3 กลุ่มใหญ่ๆด้วยกันคือ
1. จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ซึ่งมีประมาณ 10% ของจุลินทรีย์ทั้งระบบ
2. จุลินทรีย์ที่มีโทษ สร้างความเสียหายและทำลาย จุลินทรีย์กลุ่มนี้มีประมาณ 10% เช่นกัน
3. จุลินทรีย์ที่กลุ่มที่เป็นกลาง ซึ่งมีประมาณ 80% ซึ่งมากที่สุดในระบบ จุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถรวมตัวได้ทั้งกับจุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์หรือมีโทษ ถ้าเข้ารวมกลุ่มกับจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ก็จะให้ประโยชน์มากขึ้น ในทางตรงกันข้ามถ้าไปรวมตัวกับกลุ่มที่มีโทษ ก็จะสร้างความเสียหายหรือเกิดโทษขึ้นได้
ในโลกนี้แทบทุกแห่งทุกอณูในบรรยากาศ เต็มไปด้วยจุลินทรีย์ แต่อาจจะน้อย ถ้าโลกใบนี้ไม่มีจุลินทรีย์ ของเสียและสิ่งสกปรกต่างๆจะท่วมโลก มนุษย์สร้างของเสียเกิดขึ้นทุกวินาที นอกจากธรรมชาติที่มีของเสียอยู่แล้ว ของเสียต่างๆจะเกิดจากน้ำมือของมนุษย์มากที่สุด มากกว่าเกิดจากธรรมชาติหลายล้านเท่า และของเสียเหล่านี้เองที่ถูกทำลายหรือย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ตัวเล็กๆ แต่ในบางครั้งจุลินทรีย์ก็ย่อยของเสียจำนวนมหาศาลเหล่านี้ไม่ทัน เหตุเพราะมีมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ที่เข้าไปย่อยสลาย ( เกินกำลังของจุลินทรีย์ ) จุลินทรีญ์กลุ่มที่มีโทษจึงเข้าทำการย่อยสลายแทน จึงเกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้น ซึ่งเรียกกันว่า ปฏิกิริยาการย่อยไม่สมบูรณ์นั่นเอง กลิ่นจึงติดตามมา ถ้าการย่อยสลายสมบูรณ์จะไม่เกิดปัญหากลิ่นเหม็นขึ้น
ของเสียไม่ว่าจะเป็นน้ำเสียจากห้องน้ำ โรงงาน ตลาด หรือที่อื่นๆ ล้วนต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลายของเสียเหล่านี้ทั้งสิ้น ของเสียมีมากและมีตลอดเวลา ในขณะที่ปริมาณจุลินทรีย์ในธรรมชาติมีปริมาณจำกัดน้อย จึงทำให้ของเสียเหล่านี้ส่งกลิ่นเหม็น
วิธีการแก้ไขปัญหานี้
ก็ด้วยการเติมปริมาณจุลินทรีย์ลงไปในระบบให้เพียงพอหรือมากกว่าปริมาณของเสียที่มีอยู่ ถ้าเติมจุลินทรีย์น้อยกว่า กลิ่นก็จะยังไม่หายไป การเติมที่มากกว่าจะทำให้การย่อยสลายของเสียทำได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพกว่า
เติมจุลินทรีย์ครั้งเดียวอยู่ได้แบบถาวรได้หรือไม่?
ถ้าไม่มีของเสียอีกเลยเป็นไปได้ แต่ถ้าตราบใดของเสียเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเติมครั้งเดียวแล้วให้กลิ่นหายแบบถาวร เป็นไปไม่ได้อย่างเด็ดขาด ตราบใดที่มีของเสีย ก็ต้องหมั่นเติมเพิ่มจุลินทรีย์ในระบบ เพื่อให้การย่อยสลายสมบูรณ์ ซึ่งจะมีผลทำให้ไม่เกิดกลิ่นเหม็นขึ้น
เติมจุลินทรีย์ลงในระบบน้ำเสียแล้ว แต่ทำไมยังมีกลิ่นเหม็นอยู่?
สาเหตุที่ระบบยังมีกลิ่นอยู่เกิดจากสิ่งต่อไปนี้
1. ปริมาณของเสียมากกว่าปริมาณของจุลินทรีย์ที่เติมลงในระบบ ดังนั้นจึงควรเติมให้ปริมาณจุลินทรีย์มากกว่าของเสีย
2. จุลินทรีย์เสื่อมคุณภาพ ซึ่งอาจจะเก่าเก็บหรือหมดอายุ
3. จุลินทรีย์ไม่ได้คุณภาพในการย่อยสลาย
ทุกอย่างในการใช้จุลินทรีย์ ขึ้นอยู่กับการใช้เป็น ใช้ถึง จะเกิดประโยชน์สูงสุด ผู้นำจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ผู้นำจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น เจ้าแรกและมีเพียงเจ้าเดียวในประเทศไทย ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที เราได้พัฒนาให้จุลินทรีย์มีกลิ่นหอม ซึ่งเหมาะกับการนำไปใช้งานกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลาย
ถ้าท่านต้องการจุลินทรีย์ไปดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่มีกลิ่นหอมจริงๆ คิดถึง.....จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นอันดับแรก ที่นี่...ขายจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์ ) จำหน่ายจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์) ซึ่งกลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นต้องมีที่มาหรือสาเหตุมาจากอินทรีย์วัตถุเท่านั้น ( ไม่ใช่สารเคมี ) ถ้าใช้จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นที่เกิดจากสารเคมี ในบางกรณีอาจส่งผลให้จุลินทรีย์ตายได้ เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะถ้าสารเคมีนั้นๆมีฤทธิ์เป็นกรดหรือเป็นด่างที่มีฤทธิ์ทำลายล้างสูง ยิ่งเป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์โดยตรง แต่ถ้าสารเคมีนั้นๆไม่มีคุณสมบัติหรือมีฤทธิ์ทำอันตรายต่อจุลินทรีย์ก็สามารถอนุโลมใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นได้ แต่อาจจะไม่ตรงจุดตรงประเด็น การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ต้องไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายบนโลกใบนี้ ส่วนใหญ่มาจากอินทรีย์วัตถุที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา มีทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น แต่กลิ่นส่วนใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์สร้างขึ้น ถ้ากลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นๆมีที่มาจากสารอินทรีย์ก็กำจัดด้วยจุลินทรีย์บำบัดกลิ่น แต่ถ้ากลิ่นนั้นมาจากสารเคมีก็ให้ใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นนั้นๆ ตามที่มาหรือสาเหตุของกลิ่น จุลินทรีย์คาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( Anaerobic bacteria ) เป็นจุลินทรีย์เอนกประสงค์ใช้ประโยชน์ได้หลากหลายอย่าง สังเคราะห์ขึ้นจากหัวเชื้อของจุลินทรีย์ต้นฉบับโดยตรง ไม่ใช่หมักจากเปลือกผลไม้ เป็นจุลินทรีย์ที่เข้มข้นและมีความหนาแน่นของจุลินทรีย์สูง สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่างด้วยกัน ทั้งการบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่น รวมถึงประยุกต์เป็นปุ๋ยในทางการเกษตรก็สามารถทำได้ เป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ดึงออกซิเจนในน้ำมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย คุณสมบัติของจุลินทรีย์คาซาม่า จุลินทรีย์คาซาม่า ( จุลินทรีย์-Kasama ) ประกอบไปด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หลากหลายกลุ่มดังต่อไปนี้ การสังเคราะห์จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นการรวมกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโชน์และมีประสิทธิภาพมารวมอยู่ในที่เดียวกัน มีจุลินทรีย์รวมอยู่ 5 แฟมิลี่ 10 จีนัส 80 สปีชีส์ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria) 2. กลุ่มจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก (Lactic acid bacteria) 3. กลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตเจน (Nitrogen fixing bacteria) จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น การดับกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง จุลินทรีย์คาซาม่าจะเข้าไปกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นเหล่านี้ รวมทั้งการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นประเภทใดได้บ้าง? จุลินทรีย์หอม-kasama ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ ( สารที่มาจากพืชและสัตว์ ) 2. กลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นส้วม กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ 3. กลิ่นเหม็นจากปัสสาวะและอุจจาระทั้งคนและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด 4. กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ที่เกิดจากการเก็บของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้นมา 5. กลิ่นคาวเลือดหรือคาวปลาในโรงงานเชือดไก่ เชือดสุกร หรือโรงงานเชือดปลา เป็นต้น 6. กลิ่นจากบ่อขยะ หรือกลิ่นจากถังขยะที่ส่งกลิ่นเหม็นฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ 7. กลิ่นเหม็นจากท่อระบายน้ำทิ้ง กลิ่นเหม็นจากน้ำที่เน่าเสีย 8. กลิ่นเน่าเหม็นจากไขมัน จากบ่อดักไขมันตามร้านอาหารหรือโรงอาหาร เป็นต้น 9. กลิ่นเหม็นจากการหมักพืชและสัตว์ 10. กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่นอกเหนือไปจากที่กล่าวมาทั้งหมด กลิ่นใดที่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าดับไม่ได้หรือกำจัดกลิ่นไม่ได้ ? กลิ่นที่เกิดขึ้นจากสารเคมีจำพวกกรดหรือด่างที่มีฤทธิ์ทำลายหรือกัดกร่อนสูง
มีปัญหาบ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
|