จุลินทรีย์อีเอ็ม( EM )
กำจัดไนโตรเจนหรือลดค่า TKN ในบ่อบำบัดน้ำเสียไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถกำจัดไนโตรเจนได้แล้ว เพราะเราได้เพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งรวมอยู่ในจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเรียบร้อยแล้ว ตัวที่ลดค่า TKN ในน้ำเสียได้ก็คือ กลุ่มจุลินทรีย์ไนตริฟลายอิ้งเพียงเท่านั้น ที่นี่..เราวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาแนะนำให้กับลูกค้าที่ซื้อจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปจากเรา ให้ใช้งานจุลินทรีย์ในแต่ละเรื่องอย่างถูกต้อง เช่น การนำไปใช้ในการบำบัดน้ำเสียใช้อย่างไร ใช้ในจุดใด ใช้ในปริมาณเท่าใด ปรับให้เข้ากับบ่อบำบัดน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสียที่ลูกค้ามีอยู่อย่างไร หรือกรณีการนำจุลินทรีย์ไปใช้ในการบำบัดกลิ่น( ดับกลิ่น ) จะใช้อย่างไร ใช้ในจุดไหน ใช้ปริมาณเท่าใด ฯลฯ การใช้จุลินทรีย์อย่างตรงจุดและตรงประเด็น การใช้งานจุลินทรีย์เป็นและใช้ถึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า เราปฏิบัติเช่นนี้ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม kasama ) เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในการบำบัดน้ำเสีย ย่อยสลายของเสียในน้ำเสีย ชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลาย ( Anaerobic Bacteria ) ดังนั้น ถึงแม้ในน้ำเสียนั้นหรือในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้นๆไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียเลย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าก็สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้ตามปกติ ( ทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ตามปกติในน้ำเสียจะมีสารอินทรีย์ปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก อาจมีขนาดเล็กมากหรือขนาดใหญ่อย่างจำพวกตะกอนก็มี ซึ่งต้องใช้เวลาย่อยสลายนานขึ้น จุดที่เหมือนกันของจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจน ( ต้องเป็นกลุ่มมีประโยชน์ในการย่อยสลาย )และกลุ่มที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายก็คือ มีคุณสมบัติในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้เช่นกัน เพียงแต่อีกกลุ่มไม่ใช้ออกซิเจน แต่อีกกลุ่มใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการดำรงชีพและย่อยสลายของเสียต่างๆ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์กับโลกใบนี้ทั้งคู่ ต้องขอเรียนว่า บรรดาจุลินทรีย์ที่หลากหลายสายพันธุ์บนโลกใบนี้จะมีอยู่ด้วยกันแยกเป็น 3 ประเภทหรือ 3 กลุ่มก็ว่าได้ คือ 1. กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ ซึ่งมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและชนิดที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาและการดำรงชีพ 2. กลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นกลาง ซึ่งกลุ่มนี้ก็มีทั้งชนิดใช้อกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน สามารถร่วมงานได้กับจุลินทรีย์ทุกๆกลุ่ม ( กลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 3 ) 3. กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษ ซึ่งมีทั้งชนิดใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน มีคุณสมบัติให้โทษสถานเดียวเท่านั้น จะเรียกว่าจุลชีพที่ก่อโรคก็ไม่ผิด ทำให้ของเน่าเสียง่าย อาหารบูด อาหารเป็นพิษก็มาจากจุลินทรีย์กลุ่มที่ให้โทษนี้ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าย่อยสลายของเสียอะไรได้บ้าง ? - สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ในน้ำเสีย ( บางชนิด ) ซึ่งรวมไปถึงไขมัน น้ำมันจากพืชและสัตว์ ( Fat , Grease & Oil : FOG ) จะทำให้โมเลกุลของเสียต่างๆเล็กลงจนกลายไปเป็น CO2 + Water การย่อยสลายของเสียต่างๆในน้ำเสียของจุลินทรีย์หอมคาซาม่าจะส่งผลโดยตรงต่อค่า BOD , COD , TOC , SS , TDS , TSS สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่จะถูกย่อยสลายให้มีโมเลกุลขนาดเล็กลง แต่ก็ต้องใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายของเสียต่างๆแต่ละชนิดใช้ระยะเวลาย่อยสลายไม่เท่ากัน FOG จะเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ง่ายและใช้ระยะเวลาย่อยสลายไม่มากเหมือนสารอินทรีย์ที่เป็นของแข็ง นอกจากนี้จุลินทรีย์หอมคาซาม่ายังช่วยตรึงไนโตรเจนในน้ำเสีย ซึ่งเป็นอาหารเสริมของกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ซึ่งเป็นการช่วยเพิ่มอาหารให้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน จุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มนี้สามารถทำงานย่อยสลายแบบคู่ขนานกันไปได้ โดยเฉพาะในกรณีที่ในน้ำเสียนั้นๆมีค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นมีปริมาณน้อย ( ค่า DO น้อย ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักจะมีปริมาณน้อยตามไปด้วยตามปริมาณของออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำนั้น แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียต่างๆแทนที่ได้เลยโดยไม่ต้องใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายแต่ประการใด จุลินทรีย์หอมคาซาม่าทำหน้าที่เหมือนๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการดำรงชีพและย่อยสลายของเสียต่างๆ นอกจากนี้จุลินทรีย์หอมคาซาม่ายังมีคุณสมบัติกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นได้ดี โดยเฉพาะกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่เกิดมาจากสารอินทรีย์ที่เน่าเสีย ในบ่อบำบัดน้ำเสียถ้าค่า BOD เกิน 100 mg/l ( ในน้ำเสียนั้นๆมีสารอินทรีย์ในปริมาณที่มาก ) เมื่อใดก็จะเกิดปัญหาน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นขึ้นมา บ่อบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบสามารถเติมหรือใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าได้หรือไม่ ? คำตอบ คือ ได้ทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย และสามารถเติมได้ทุกๆบ่อตามความต้องการของผู้ใช้ ไม่ว่าจะมีวัตถุประสงค์เพื่อการบำบัดน้ำเสียในบ่อบำบัด หรือมีวัตถุประสงค์ต้องการนำไปกำจัดกลิ่นหรือการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆก็สามารถทำได้ สำหรับการเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อบำบัดน้ำเสีย โดยทั่วๆไปจะเติมในบ่อแรกที่รับน้ำเสีย ส่วนบ่อที่สอง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นบ่อเติมอากาศ ( สำหรับระบบบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ ) บ่อที่สองนี้จะเติมก็ได้ ไม่เติมก็ได้ เพราะมีตัวเติมอากาศอยู่แล้ว แต่ถ้าเครื่องแอเรเตอร์ ( เครื่องเติมอากาศ ) มีกำลังต่ำ เติมอากาศได้น้อย ก็สามารถใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าร่วมด้วยได้ไม่เสียหายอะไร ส่วนบ่ออื่นๆถ้ามีปัญหาก็สามารถเติมได้ตามความต้องการผู้ใช้โดยไม่เกิดผลเสียใดๆมีแต่ส่งผลดีต่อระบบบำบัดน้ำเสียโดยตรง อะไรบ้างที่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าย่อยสลายไม่ได้ ? สารเคมีบางชนิด โดยเฉพาะสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือเบสสูงๆ จะเป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ ( ทุกๆกลุ่ม )โดยตรง สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ทุกๆชนิด โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสีย ควรหลีกเลี่ยงการใช้หรือเทลงในบ่อบำบัดน้ำเสีย สารเคมีดังกล่าวก็คือ กลุ่มไซยาไนด์ และ กลุ่มอเซนิก จะส่งผลให้จุลินทรีย์ตายได้อย่างรวดเร็วภายในไม่กี่ชั่วโมง
อธิบายกระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ AS + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ภาพบน ) จากภาพบนเป็นการบำบัดน้ำเสียระบบ AS เติมอากาศ ( จุลินทรีย์ย่อยสลายชนิดใช้ออกซิเจน ) + จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลาย ) จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบ AS เดิมในบ่อที่ 1 จะเป็นบ่อรับน้ำเสียและตกตะกอนเบื้องต้นธรรมดาเท่านั้น ( การย่อยสลายเกิดขึ้นน้อยมากในบ่อนี้ ) ก่อนที่จะผ่านเข้าไปบ่อเติมอากาศบ่อที่ 2 ซึ่งเป็นบ่อที่ทำการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียได้มากที่สุดในระบบนี้ ( บ่อย่อยสลายขงเสียโดยใช้จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) และส่งต่อไปยังบ่อพักน้ำทิ้งที่บำบัดแล้วในบ่อที่ 3 ( ตามภาพบน ) การบำบัดน้ำเสียและย่อยสลายของเสียส่วนใหญ่ในระบบ AS นี้จะเกิดขึ้นในจุดเดียวคือ บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ซึ่งมีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นตัวทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี แต่เมื่อเติมจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเข้าไปเพิ่มเติม ( ในบ่อที่ 1 ) จะเกิดการย่อยสลายในบ่อที่ 1 หรือบ่อแรกเพิ่มขึ้นทันทีอีกจุดหนึ่ง ( เหมือนบ่อเติมอากาศ ) กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ออกซิเจนจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับจุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียในน้ำเสียนั้นๆได้ทันที จะเห็นได้ว่าการย่อยสลายของเสียเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 จุดหรือ 2 บ่อ ( บ่อที่ 1 และ บ่อเติมอากาศ ) ซึ่งเป็นการบำบัดน้ำเสียแบบดับเบิ้ล คือ บ่อที่ 1 จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นตัวบำบัด ( ย่อยสลายของเสียต่างๆ )เป็นด่านแรกก่อนที่จะส่งต่อไปบำบัดอีกชั้นหนึ่งที่บ่อเติมอากาศ ( มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย ) จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและการบำบัดน้ำเสียทำได้ดีมากยิ่งขึ้น ค่าพารามิเตอร์ต่างๆจะลดลงตั้งแต่การย่อยสลายหรือการบำบัดในบ่อแรกแล้ว การบำบัดและย่อยสลายของเสียต่างๆซ้ำในบ่อเติมอากาศ ( โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ยิ่งจะทำให้ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่น BOD , SS , TDS , FOG , TKN ลดลงมากยิ่งขึ้นไปอีก ตะกอนต่างๆก็จะลดลงเหลือน้อยมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นเพราะประสิทธิภาพการบำบัดสองชั้นดังกล่าว ( บำบัดด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อแรกและบำบัดด้วยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศ) จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งดีขึ้นกว่าปกติที่เคยเป็น ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งผ่านเกณฑ์ได้ง่ายขึ้นเป็นเพราะผลของการบำบัดหรือการย่อยสลายของเสีย 2 ชั้น ปฏิกิริยาการย่อยสลายก็จะรวดเร็วขึ้นกว่าปกติ ของเสียต่างๆในน้ำเสียจึงไม่เป็นภาระหนักให้กับบ่อเติมอากาศเพียงจุดเดียวอีกต่อไป ( ไม่เป็นภาระหนักให้กับจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ) ที่อาจย่อยสลายของเสียได้ไม่หมดหรือย่อยสลายได้เพียงบางส่วนเล็กน้อย จึงส่งผลให้ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งไม่ผ่านเกณฑ์ในบ่อสุดท้ายบ่อยๆได้
สรุป จุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในระบบ AS และยังช่วยเสริมประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้กับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในบ่อเติมอากาศอีกชั้นหนึ่ง การย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพสูงเป็นพิเศษ ส่งผลให้ระบบบำบัดน้ำเสียสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เป็นการบำบัดน้ำเสียโดยการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( ไม่ใช้ออกซิเจน ) และกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ทำให้สสารที่เจือปนอยูในน้ำเสียถูกย่อยสลายได้มากขึ้นและเร็วขึ้นกว่าปกติทั่วๆไป หมายเหตุ : จุลินทรีย์หอมคาซาม่า สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ( ในทั้งหมด 6 ระบบ ) นอกจากบำบัดน้ำเสียได้ดีแล้ว ยังมีคุณสมบัติเด่นๆในเรื่องของการกำจัดกลิ่นหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆเพิ่มอีกด้วย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย( Anaerobic bacteria ) สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น จุลินทรีย์หอมคาซาม่าสามารถใช้กับระบบบำบัดน้ำเสียได้กับทุกๆระบบ โดยเฉพาะกับระบบที่มีปริมาณจุลินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำมีปริมาณน้อยกว่าของเสียและน้ำเสีย ( ระบบเติมอากาศทั่วๆไป ) น้ำเน่าเหม็นและน้ำที่เน่าเสียมีที่มาจากปริมาณจุลินทรีย์กลุ่มย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น
ท่านรู้หรือไม่ว่าในโลกนี้ ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หรืออีเอ็ม( Effective Micro-organisms )อยู่เคียงข้างกับมนุษย์และสัตว์โลกนี้ มนุษย์และสัตว์ทุกชนิดอาจไม่มีชีวิตยืนอยู่บนโลกนี้ ในโลกความเป็นจริงจุลินทรีย์มีหลายกลุ่ม แต่พอสรุปได้เป็น 3 จำพวกดังนี้ 1. จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์หรือกลุ่มที่ให้ประโยชน์ ( EM ) จุลินทรีย์กลุ่มนี้พบได้แทบทุกแห่ง ทั้งในร่างกายคนเราและสิ่งแวดล้อมทั่วๆไป แต่อาจมีปริมาณน้อย ให้ประโยชน์ในเรื่องการย่อยสลายและการควบคุมกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์มีทั้งประเภทใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน
2. จุลินทรีย์ที่มีโทษหรือกลุ่มที่ให้โทษ กลุ่มนี้ถือว่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม สิ่งปฏิกูลเน่าเสียล้วนเกิดจากปฏิกิริยาของจุลินทรีย์กลุ่มนี้ 3. จุลินทรีย์ที่เป็นกลาง คือกลุ่มที่แสดงผลเป็นกลาง สามารถให้ประโยชน์หรือให็ดทษก็ได้ เมื่อรวมกลุ่มกับจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ ก็จะเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ แต่ถ้ารวมตัวกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษ ก็จะทำให้เกิดโทษขึ้นได้
เกี่ยวกับจุลินทรีย์ กลุ่มจุลินทรีย์มีหลายกลุ่มดังนี้
1. กลุ่มจุลินทรีย์สร้างสรรค์หรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้ประโยชน์ เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีคุณภาพ มีประมาณ 10 %
กลุ่มจุลินทรีย์ที่นำมาใช้บำบัดน้ำเสีย กำจัดกลิ่นเหม็น กำจัดของเสีย จะใช้กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศ ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์สูง ย่อยสลายสิ่งสกปรกและของเสียได้เป็นอย่างดี ย่อยสลายและดับกลิ่นเน่าเหม็นได้อย่างสมบูรณ์แบบ ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะใดๆต่อโลก ในทางตรงกันข้ามช่วยให้สิ่งแวดล้อมโดยรวมดีขึ้นจากขบวนการย่อยสลายสิ่งสกปรกนั่นเอง
ถ้าไม่มีจุลินทรีย์ในการย่อยสลาย สิ่งปฏิกูลและของเสียต่างๆจะท่วมโลกได้ และจะถึงกาลอวสานของสิ่งมีชีวิตในโลกนี้ทั้งหมด รวมถึงมนุษย์ด้วย จุลินทรีย์อีเอ็มสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในทางการเกษตรได้ดีหลายอย่าง โดยเฉพาะการประยุกต์ทำเป็นปุ๋ยน้ำหรือปุ๋ยหมักชีวภาพปุ๋ยน้ำชีวภาพหรือปุ๋ยชีวภาพ แต่ที่นิยมมากที่สุดคือทำเป็นปุ๋ยน้ำชีวภาพหรือน้ำหมักชีวภาพนั่นเองหรือปุ๋ยชีวภาพนั่นเอง โดยการนำเอาจุลินทรีย์อีเอ็มไปผสมกับพืชหรือสัตว์หมักไว้ระยะหนึ่งแล้วนำมาเป็นปุ๋ยอินทรีย์ของพืช ซึ่งในน้ำหมักชีวภาพหรือปุ๋ยน้ำชีวภาพนั้นจะมีสารอาหารต่างๆที่จำเป็นและมีประโยชน์ต่อพืชมากมาย ใช้ได้กับพืชผักทุกชนิดทุกประเภทรวมทั้งไม้ยืนต้น ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ที่เลี้ยงไว้ตามบ้านเรือนทั่วๆไป ซึ่งจะช่วยให้ต้นไม้สวยงาม ไม่เหี่ยวเฉาง่ายแม้ขาดการรดน้ำ ลดการใช้สารเคมีลง ช่วยให้ดินอุดมร่วนซุย ดูรายละเอียดการประยุกต์ใช้งานของจุลินทรีย์คลิกที่ลิ้งค์ด้านล่าง ถ้าท่านต้องการจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นที่มีกลิ่นหอมจริงๆ คิดถึง.....จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นอันดับแรก
ผู้ผลิตจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) จำหน่ายจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น จุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น ใช้ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์แล้วกลิ่นหอมทันทีที่ใช้งาน ใช้ได้กับปัญหากลิ่นไม่พึงประสงค์ทุกชนิดที่เกิดมาจากสารอินทรีย์ ทั้งกลิ่นเน่าเหม็น กลิ่นคาวเลือด กลิ่นคาวปลา กลิ่นหมักหมมต่างๆ เป็นการบำบัดกลิ่นกำจัดกลิ่นแบบธรรมชาติบำบัด ซึ่งไม่ใช่การกลบกลิ่นเหมือนกรณีการใช้สารเคมี กลิ่นเน่าเหม็น กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆส่วนใหญ่มาจากสารอินทรีย์ เช่นเดียวกันกับน้ำเน่าเหม็น น้ำเน่าเสีย ส่วนใหญ่มาจากการปนเปื้อนเศษเนื้อหรือเศษพืชผักชิ้นส่วนของสารอินทรีย์ในน้ำ ( สิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว ) กลุ่มจุลินทรีย์ที่ให้โทษจะเข้าทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ในน้ำเหล่านี้ จนก่อให้เกิดการเน่าเสียของสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนในน้ำ กลายเป็นน้ำเน่าเสียเกิดกลิ่นเหม็นขึ้น นี่คือที่มาของน้ำที่เน่าเหม็น น้ำเน่าเสีย ดังนั้น วิธีการแก้ไขปัญหานี้ก็ต้องใช้จุลินทรีย์กลุ่มที่ให้ประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้น เพื่อเข้าไปบำบัดกลิ่นและย่อยสลาย ซึ่งเป็นไปตามแนวทางธรรมชาติ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุและตรงจุด เพราะบรรดาของเสียทั้งหมดในโลกนี้ต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายทั้งสิ้น ถ้าปราศจากจุลินทรีย์ย่อยสลายแล้ว ของเสียคงล้นโลกไปแล้ว จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์หอมที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นรวมไปถึงมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นอีกด้วย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันทีไม่ต้องรอนานจึงเหมาะสำหรับใช้งานในการดับกลิ่นเน่าเหม็นหรือกำจัดกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและของเสียที่เกิดมาจากสารอินทรีย์
คุณสมบัติของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า - ใช้บำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี จุลินทรีย์จะเข้าไปย่อยสลายของเสีย - ย่อยสลายสารอินทรีย์วัตถุให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง - ย่อยสลาย Greas & Oil ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ - ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ทุกชนิด ฯ ล ฯ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น การดับกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง จุลินทรีย์คาซาม่าจะเข้าไปกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นเหล่านี้ รวมทั้งการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา
จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นประเภทใดได้บ้าง? จุลินทรีย์หอม-kasama ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ ( สารที่มาจากพืชและสัตว์ ) น้ำเน่าเสีย น้ำเน่าเหม็น 2. กลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นส้วม กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ 3. กลิ่นเหม็นจากปัสสาวะและอุจจาระทั้งคนและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด 4. กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ที่เกิดจากการเก็บของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้นมา 5. กลิ่นคาวเลือดหรือคาวปลาในโรงงานเชือดไก่ เชือดสุกร หรือโรงงานเชือดปลา เป็นต้น 6. กลิ่นจากบ่อขยะ หรือกลิ่นจากถังขยะที่ส่งกลิ่นเหม็นฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ 7. กลิ่นเหม็นจากท่อระบายน้ำทิ้ง กลิ่นเหม็นจากน้ำที่เน่าเสีย 8. กลิ่นเน่าเหม็นจากไขมัน จากบ่อดักไขมันตามร้านอาหารหรือโรงอาหาร เป็นต้น 9. กลิ่นเหม็นจากการหมักพืชและสัตว์ 10. กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่นอกเหนือไปจากที่กล่าวมาทั้งหมด กลิ่นใดที่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าดับไม่ได้หรือกำจัดกลิ่นไม่ได้ ? กลิ่นที่เกิดขึ้นจากสารเคมีจำพวกกรดหรือด่างที่มีฤทธิ์ทำลายหรือกัดกร่อนสูง มีปัญหาบ่อดักไขมันส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน น้ำเน่าเหม็นน้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวน บ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ ห้องน้ำมีกลิ่นเหม็น ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) เปลี่ยนกลิ่นเหม็นให้เป็นกลิ่นหอมได้รวดเร็วทันใจ
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
<< กลับหน้าแรกจุลินทรีย์หอมดับกลิ่นจุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสีย >> |