ส้วมมีกลิ่น / ห้องน้ำมีกลิ่น/ กลิ่นส้วม
ทำไมบ่อเกรอะจึงส่งกลิ่นเหม็น ? ที่บ่อเกรอะเหม็นเพราะปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมีปริมาณน้อยกว่าของเสียที่อยู่ในบ่อเกรอะนั้นๆ วิธีแก้ไขจึงต้องเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะให้เพียงพอต่อปริมาณของเสียและน้ำเสียในบ่อเกรอะ มีปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นบ่อยๆ บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นรบกวนใจ RUN และ REBOOT บ่อเกรอะของท่านใหม่ด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ด้วยการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์เข้าไปในบ่อเกรอะ เพื่อให้สามารถย่อยของเสียต่างๆได้มากขึ้น รวมทั้งดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นบ่อเกรอะได้รวดเร็วทันใจ เมื่อปฏิกิริยาการย่อยสลายของเสียสมบูรณ์ นั่นหมายความว่า มีจุลินทรีย์ในบ่อเกรอะมากเพียงพอสำหรับการย่อยสลายของเสียต่างๆ กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆก็จะลดลงและหายไปในที่สุด ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นโดยวิธีชีวภาพบำบัด ( ใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่น ) ซึ่งไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น ในบรรดากลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายที่เกิดจากสารอินทรีย์ล้วนต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดทั้งสิ้น ซึ่งเป็นกฎธรรมชาติบำบัดโดยตรง ผู้นำจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ผู้นำจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น เจ้าแรกและมีเพียงเจ้าเดียวในประเทศไทย ใช้แล้วกลิ่นหอมทันที เราได้พัฒนาให้จุลินทรีย์มีกลิ่นหอม ซึ่งเหมาะกับการนำไปใช้งานกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลาย ถ้าท่านต้องการจุลินทรีย์ไปดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่มีกลิ่นหอมจริงๆ คิดถึง.....จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นอันดับแรก ที่นี่...ขายจุลินทรีย์หอมดับกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์ ) จำหน่ายจุลินทรีย์หอมกำจัดกลิ่น ( ไม่พึงประสงค์) ซึ่งกลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นต้องมีที่มาหรือสาเหตุมาจากอินทรีย์วัตถุเท่านั้น ( ไม่ใช่สารเคมี ) ถ้าใช้จุลินทรีย์หอมดับกลิ่นที่เกิดจากสารเคมี ในบางกรณีอาจส่งผลให้จุลินทรีย์ตายได้ เพราะจุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะถ้าสารเคมีนั้นๆมีฤทธิ์เป็นกรดหรือเป็นด่างที่มีฤทธิ์ทำลายล้างสูง ยิ่งเป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์โดยตรง แต่ถ้าสารเคมีนั้นๆไม่มีคุณสมบัติหรือมีฤทธิ์ทำอันตรายต่อจุลินทรีย์ก็สามารถอนุโลมใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นได้ แต่อาจจะไม่ตรงจุดตรงประเด็น บ่อเกรอะคืออะไร ? ทำไมต้องมีบ่อเกรอะทุกๆอาคารและทุกๆบ้านเรือน ? บ่อเกรอะ คือ บ่อที่รับของเสียจากส้วมหรือชักโครกจากการปล่อยเบาและปล่อยหนักปลดทุกข์จะลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะทั้งหมด ทำไมต้องมีบ่อเกรอะ? ถ้าไม่มีการทำบ่อเกรอะแล้ว ของเสียต่างๆที่ไปจากส้วมและชักโครกจะนำไปทิ้งลงที่ไหน? นี่คือที่มาของบ่อเกรอะที่ต้องมีในทุกๆอาคารบ้านเรือนนั่นเอง ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะไปไหนต่อ? ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะจะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลาย ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติอยู่แล้ว เพียงแต่มีปริมาณน้อย ( เมื่อเปรียบเทียบกับของเสีย ) โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก ในบ่อเกรอะน้ำเสียค่อยข้างวิกฤตหนัก ของเสียที่หมักหมมมีเป็นจำนวนมาก ในขณะที่ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในบ่อเกรอะ ( น้ำเสียในบ่อเกรอะ ) มีปริมาณน้อยมาก ดังนั้น จึงส่งผลให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อสลายที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำงานย่อยสลายไม่ได้ เพราะขาดออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายนั่นเอง บ่อเกรอะเป็นแหล่งที่อับอากาศหรือแทบไม่มีอากาศออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเลยนั่นเอง บ่อเกรอะมีทั้งก๊าซไข่เน่า ก๊าซมีเทน ก๊าซเหล่านี้จะลอยขึ้นสู่ที่สูง เป็นที่มาของกลิ่นส่วนหนึ่ง ทุกครั้งที่มีการกดชักโครก ก๊าซต่างๆจะลอยขึ้นมาตามท่อที่ต่อเชื่อมเข้ากับบ่อเกรอะ ซึ่งรวมทั้งกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในบ่อเกรอะ ดังนั้น จึงควรสูบบ่อเกรอะอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เพื่อนำตะกรันในบ่อเกรอะออกให้หมด แล้วค่อยเติมจุลินทรีย์ย่อยสลายลงไปแทนที่ ทำไมในบ่อเกรอะจึงส่งกลิ่นเหม็น ? ถ้าตอบแบบง่ายๆก็คือ ในบ่อเกรอะนั้นมีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นมีปริมาณน้อยหรือแทบไม่มีเลย จุลินทรีย์ย่อยสลายและกำจัดกลิ่นที่มีอยู่ในบ่อเกรอะไม่เพียงพอหรือมีปริมาณน้อยมาก นั่นคือ ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะมีมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายที่มีอยู่ในบ่อเกรอะ ของเสียที่หมักหมมอยู่ในบ่อเกรอะส่งผลให้ทั้งการเกิดน้ำเสียมากขึ้นและเกิดปัญหากลิ่นมากขึ้น การแก้ไขปัญหานี้ที่ตรงจุดมากที่สุดก็คือ การเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะหรือการเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายเข้าไปในบ่อเกรอะให้มากพอกับปริมาณของเสียนั่นเอง จึงจะแก้ปัญหาบ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นได้และต้องหมั่นเติมอยู่เรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง ตราบใดที่ของเสียยังเกิดขึ้นตลอดเวลาและต่อเนื่องก็ต้องอาศัยจุลินทรีย์ย่อยสลายอย่างต่อเนื่องเช่นกัน อาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่มักจะต่อท่อน้ำทิ้งจากห้องน้ำ อ่างล้างหน้า อ่างล้างมือ ฟอร์เดรน ลงไปรวมที่บ่อเกรอะจึงทำให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นในห้องน้ำขึ้นบ่อยๆ ที่ถูกต้องจะต้องแยกบ่อน้ำทิ้งกับบ่อเกรอะเป็นคนละบ่อกันจึงจะทำให้ไม่เกิดปัญหาขึ้น เมื่อกดชักโครกน้ำเสียจากชักโครกก็จะลงไปรวมที่ก้นบ่อส่งผลให้กลิ่นก๊าซต่างๆจากก้นบ่อเกรอะลอยตัวขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้งและจุดเชื่อมต่อในแต่ละจุด ควรเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะอยู่เรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดของเสียและกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ถ้าขาดเสียซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย และการกำจัดกลิ่น สิ่งที่ติดตามมาก็คือ ของเสียมากขึ้นถูกย่อยสลายน้อยมาก ส่งผลให้เกิดปัญหากลิ่นเหม็นลอยขึ้นมาจากบ่อเกรอะ นี่คือผลของการขาดจุลินทรีย์ย่อยสลายในบ่อเกรอะ การสูบบ่อเกรอะหรือสูบส้วมบ่อยๆก็ช่วยนำของเสียต่างๆออกจากบ่อเกรอะ โดยเฉพาะตะกรันในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะจะเป็นตัวชี้วัดว่า บ่อเกรอะนั้นๆมีปริมาณจุลินทรีย์ย่อยสลายน้อยเกินไป ต้องรีบเติมหรือเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ลงไปในบ่อเกรอะทันที เพื่อจัดการในเรื่องกลิ่นและการบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ การดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ ต้องไม่ใช่การกลบกลิ่นชั่วครั้งชั่วคราวเหมือนกรณีการใช้สารเคมีกลบกลิ่น กลิ่นไม่พึงประสงค์ทั้งหลายบนโลกใบนี้ ส่วนใหญ่มาจากอินทรีย์วัตถุที่ก่อให้เกิดกลิ่นไม่พึงประสงค์ขึ้นมา มีทั้งมาจากธรรมชาติสร้างขึ้นมาและมนุษย์สร้างขึ้น แต่กลิ่นส่วนใหญ่จะมาจากกิจกรรมของมนุษย์สร้างขึ้น ถ้ากลิ่นไม่พึงประสงค์นั้นๆมีที่มาจากสารอินทรีย์ก็กำจัดด้วยจุลินทรีย์บำบัดกลิ่น แต่ถ้ากลิ่นนั้นมาจากสารเคมีก็ให้ใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นนั้นๆ ตามที่มาหรือสาเหตุของกลิ่น กลิ่นที่เกิดขึ้นในบ่อเกรอะมาจากไหน ? น้ำยาดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น กลิ่นเหม็นที่มาจากบ่อเกรอะมาจากของเสียต่างๆที่ไปจากชักโครกหรือคอห่านในห้องน้ำห้องส้วม ทั้งถ่ายหนักและถ่ายเบา เมื่อหมักหมมรวมกันนานเข้าก็จะเกิดกลิ่นขึ้นมา ไม่ต้องมองจากที่ไหนแค่ถ่ายหนักก็มีกลิ่นแล้ว ดังนั้น บ่อเกรอะจึงเป็นศูนย์รวมของเสียต่างๆและศูนย์รวมกลิ่นไม่พึงประสงค์ กลิ่นเหม็นที่เกิดขึ้นเกิดจากการหมักหมมของสารอินทรีย์เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น ในการกำจัดกลิ่นเหม็นเหล่านี้ให้ได้ผลดีจึงต้องพึ่งพาอาศัยจุลินทรีย์ในการบำบัดกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์เหล่านี้ การเติมหรือเพิ่มจุลินทรีย์อีเอ็มลงในบ่อเกรอะจะได้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า 3 อย่าง อย่างแรก จุลินทรีย์ที่เราเติมลงไปในบ่อเกรอะจะไปย่อยสลายของเสียต่างๆในบ่อเกรอะ เพราะปกติบ่อเกรอะมีปริมาณจุลินทรีย์ในธรรมชาติน้อยอยู่แล้ว ( จุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ) อากาศออกซิเจนก็มีน้อยนิดหรือแทบจะไม่มี ส่วนใหญ่มีแต่ก๊าซไข่เน่าและก๊าซมีเทน อย่างที่สอง ช่วยบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ น้ำเสียจะค่อนข้างวิกฤตมาก เพราะในบ่อเกรอะมีค่า DO น้อยมากๆหรือแทบไม่มีเลย ( ค่า DO คือค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำ ) ดังนั้น กลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียจึงไม่ทำงาน เพราะไม่มีออกซิเจนใช้ในการทำปฏิกิริยานั่นเอง ปัญหาจึงติดตามมา นั่นคือ บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นอย่างต่อเนื่องและรุนแรง การที่จะเพิ่มจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนทำได้ค่อยข้างยากในบ่อเกรอะ เพราะมีข้อจำกัดหลายประการ อย่างที่สาม ช่วยดับกลิ่นเน่าเหม็นหรือกำจัดกลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะส่วนใหญ่มาจากการหมักหมมกันของสารอินทรีย์ และไม่มีจุลินทรีย์เข้าไปย่อยสลายของเสียเหล่านั้นหรือมีจุลินทรีย์ในธรรมชาติย่อยสลาย แต่มีปริมาณน้อยกว่าปริมาณของของเสียที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้จึงทำให้เกิดปัญหากลิ่นขึ้นมานั่นเอง การนำกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มหรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ซึ่งทำหน้าที่ได้เช่นเดียวกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน เพียงแต่กลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มจะไม่ใช้ออกซิเจนหรือดึงออกซิเจนในน้ำเสียมาใช้ในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เพราะโดยปกติทั่วไปแล้ว น้ำเสียในบ่อเกรอะก็มีออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นน้อยอยู่แล้วหรือบ่อเกรอะบางแห่งแทบไม่มีออกซิเจนละลายอยู่ในน้ำเสียในบ่อเกรอะนั้นเลย จึงส่งผลให้ไม่มีจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในบ่อเกรอะหรือมีแต่มีปริมาณน้อยนิด ซึ่งไม่เพียงพอหรือย่อยสลายของเสียไม่ทันกับปริมาณน้ำเสียที่มีมากกว่าในบ่อเกรอะนั้น ดังนั้น ทางออกในการแก้ไขปัญหาจึงหันไปพึ่งพาอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งเราสามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้ง่ายกว่า กำหนดปริมาณได้ง่ายกว่า ในปัจจุบันจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมาทำหน้าที่ย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียทดแทนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลัก เพราะจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนนี้ขาดออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายไม่ได้ แต่ความเป็นจริงในปัจจุบัน น้ำเสียมีปริมาณมากกว่าปริมาณจุลินทรีย์หลายเท่าตัว น้ำเสียรุนแรงมาก ดังนั้นจึงส่งผลให้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียนั้นมีปริมาณน้อยมากหรือแทบไม่มีเลยก็มีให้เห็นบ่อยๆ ซึ่งส่งผลกระทบโดยต่อการเติบโตของจุลินทรีย์ที่ใช้อากาศออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายในระบบ ออกซิเจนในน้ำเสียในระบบมีน้อยหรือแทบไม่มีเลย จะสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณจุลินทรีย์ให้มีน้อยลงหรือแทบไม่มีเลย ส่งผลให้น้ำเสียนั้นๆเข้าขั้นวิกฤตหนัก โดยเฉพาะน้ำเสียในบ่อเกรอะหรือน้ำเสียจากห้องน้ำห้องส้วมที่มีผู้ใช้จำนวนมากเป็นประจำ การสร้างหรือเพิ่มกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนเป็นหลักทำได้ค่อนข้างลำบาก ดังนั้น จึงนิยมนำกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียมาทำงานทดแทนกัน ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะทำหน้าที่คล้ายๆกันกับกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน และสามารถทำงานย่อยสลายร่วมกันได้ในระบบทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย ถ้าในน้ำเสียไม่มีออกซิเจนละลายอยู่เลย กลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนก็สามารถทำงานได้ทันที ไม่ต้องรอจุลินทรีย์กลุ่มที่ใช้ออกซิเจนให้เสียเวลาในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ดังนั้น ในปัจจุบันจึงนิยมนำจุลินทรีย์อีเอ็มมา REBOOT ระบบและ RUN ระบบให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียต่างๆและบำบัดน้ำเสียรวมไปถึงการดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ ถ้าให้ดีที่สุด ควรสูบบ่อเกรอะเอาตะกรันทั้งหมดออกจากบ่อเกรอะก่อน ( กรณีที่ไม่เคยสูบบ่อเกรอะมาก่อนหรือนานๆสูบครั้ง ) แล้วจึงรองพื้นบ่อเกรอะด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไม่น้อยกว่า 1-2 ลิตร ต่อบ่อเกรอะที่จุน้ำเสีย 1 คิว การเติมจุลินทรีย์จะเติมมากกว่านี้ก็เป็นเรื่องดี เพราะจะทำให้ระบบมีปริมาณจุลินทรีย์เพิ่มขึ้น ควรหมั่นเติมในทุกๆเดือน เพื่อให้ในระบบมีจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียอย่างต่อเนื่อง การสูบส้วมควรสูบ 6 เดือนต่อครั้งหรือมากกว่านี้กรณีที่ส้วมใช้งานหนักมาก มีปริมาณของเสียต่างๆตะกรันจำนวนมาก เมื่อสูบส้วมเสร็จเรียบร้อยแล้วก็รองพื้นบ่อเกรอะด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่าที่เตรียมไว้สำหรับ REBOOT และ RUN บ่อเกรอะให้มีประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียมากขึ้น นอกจากนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไป RUN และ REBOOT ในบ่อเกรอะแล้ว ยังสามารถนำไป RUN และ REBOOT ในน้ำเสียในบ่อพักน้ำเสียทั่วๆไป ทั้งคอนโดมิเนี่ยม อาคารสำนักงานขนาดใหญ่ ฯลฯ เพราะโดยทั่วๆไปน้ำเสียที่รับมาจากชักโครก กับ น้ำเสียที่รับมาจากท่อน้ำทิ้งต้องแยกบ่อรับน้ำเสียคนละบ่อจึงจะถูกต้อง จะไม่นำมารวมเป็นบ่อเดียวกัน น้ำเสียในบ่อเกรอะจะมีตะกรันของแข็งจำนวนมาก ต้องสูบทิ้งเรื่อยๆ ส่วนบ่อรับน้ำเสียน้ำทิ้งจากท่อระบายน้ำในห้องจะเป็นน้ำที่ใช้ทำความสะอาดร่างกาย มือเท่านั้น ทุกๆบ่อน้ำทิ้งน้ำเสียสามารถนำจุลินทรีย์หอมคาซาม่าไปใช้รันและรีบูทระบบได้ทันที จะช่วยให้ประสิทธิภาพการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียรวมถึงการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเกิมหลายเท่าตัว เราคือผู้ผลิตและจำหน่ายจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ชนิดเข้มข้นสูง ความหนาแน่นของปริมาณจุลินทรีย์สูง จุลินทรีย์หอมคาซาม่ามีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา ( เพราะมีอาหารเลี้ยงอยู่ตลอดเวลาในภาชนะบรรจุ)เหมาะสำหรับบำบัดน้ำเสีย เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น เติมบ่อเกรอะเหม็น ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ให้กับบ่อเกรอะและบ่อบำบัดน้ำเสีย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์อีเอ็มชนิดไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย ใช้ได้กับทุกๆระบบบำบัดน้ำเสีย จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นจุลินทรีย์ที่เราจัดทำขึ้นตามความต้องการของลูกค้าโดยตรง ซึ่งลูกค้าที่มีปัญหาห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็น ส้วมส่งกลิ่นแรง ต้องการจุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำที่มีกลิ่นหอม จุลินทรีย์หอมเป็นจุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียจากธรรมชาติที่สังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อวัตถุ ประสงค์ดับกลิ่นห้องน้ำ ห้องสุขาหรือห้องส้วม และบำบัดน้ำเสียโดยเฉพาะ โดยทั่วไปจุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียจะมีกลิ่นฉุนออกเปรี้ยว แต่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าของเราจะมีกลิ่นหอม เหมาะใช้งานดังต่อไปนี้.- - ดับกลิ่นห้องน้ำในบ้าน โรงแรม คอนโดมิเนี่ยม อพาร์ทเม้นท์ เกสเฮ้าส์ ออฟฟิศ ฯลฯ - ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น, เติมจุลินทรีย์ลงในบ่อเกรอะ, บำบัดน้ำเสีย , ดับกลิ่นบ่อบำบัดน้ำเสียส่งกลิ่นเหม็น - ทำความสะอาดห้องน้ำ ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำที่มีกลิ่น - บำบัดน้ำเสียได้ทุกๆระบบ ทั้งในโรงงาน บำบัดน้ำเสียในอาคารตึกสำนักงาน สถานประกอบธุรกิจทั่วๆไป - ดับกลิ่นสัตว์เลี้ยงหรือทำความสะอาดสัตว์เลี้ยง - ดับกลิ่นฟาร์มปศุสัตว์ ( กำจัดกลิ่นมูลสัตว์ทุกชนิด )
ฯ ล ฯ
ส้วมมีกลิ่น ส้วมส่งกลิ่นแรง ห้องน้ำมีกลิ่น ห้องน้ำส่งกลิ่นแรง ใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นปลอดภัยไร้สารเคมีเจือปน
ในทุกๆบ้านต้องมีส้วมประจำบ้าน และบ้านใดสะอาดหรือไม่บางท่านวัดกันที่ส้วมหรือสุขา ส้วมจึงเป็นเสมือนสัญญลักษณ์แห่งความสกปรกหรือสะอาดก็ได้ ขึ้นอยู่กับการใส่ใจทำความสะอาดของเจ้าของส้วม
ส่วนการใช้งานอื่นๆก็สามารถประยุกต์ให้เหมาะสมกับปัญหาและพื้นที่ที่ใช้ในแต่ละครั้ง
การใช้จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม บ่อเกรอะหรือห้องน้ำ
ให้ใช้จุลินทรีย์สดๆเทลงไปในโถส้วมพอประมาณ และส่วนหนึ่งผสมกับน้ำสอาดครึงต่อครึ่ง ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำ โถปัสสาวะ ท่อน้ำทิ้ง เป็นต้น กรณีทำได้ทุกวัน ยิ่งเป็นการดี จะช่วยในการบำบัดกลิ่นและดับกลิ่นได้เป็นอย่างดี กรณีที่กลิ่นลอยอยู่ในอากาศภายในห้องส้วม อาจใช้จุลินทรีย์ผสมกับน้ำสะอาดแบบเจือจาง เทลงในขวดสเปรย์ แล้วให้สเปรย์ทั่วๆภายในและรอบๆห้องส้วม กรณีต้องการให้มีกลิ่นหอม ก็สามารถผสมหัวน้ำหอมลงได้ตามความต้องการ ค้นหาข้อมูลเพจนี้ใน Google ด้วยคีย์เวิร์ด " ส้วมมีกลิ่น, ส้วมเหม็น"
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
|