กลิ่นเหม็นในห้องน้ำมาจากจุดใด?
ปัญหากลิ่นเหม็นในห้องน้ำ ส่วนใหญ่จะคิดว่ามาจากส้วมหรือโถส้วม ชักโครก ในความเป็นจริงแล้วกลิ่นเหม็นที่โชยออกมาจากห้องน้ำที่มีชักโครกอยู่ในห้องเดียวกัน ส่วนใหญ่จะมาจากท่อน้ำทิ้งหรือท่อเดรนแทบทั้งนั้น ในห้องน้ำทุกๆแห่งจะมีท่อน้ำทิ้งอยู่ในทุกๆห้อง อาจมีจุดเดียวหรือหลายๆจุดก็มี เพื่อระบายน้ำเสียลงสู่บ่อพักน้ำเสียเพื่อบำบัดให้เป็นน้ำดีก่อนปล่อยออกสู่สาธารณะต่อไป แต่มีบางกรณีที่มีการต่อท่อน้ำทิ้งจากห้องน้ำเข้ากับบ่อเกรอะ(บ่อรับของเสียจากชักโครก)ดังนั้นจึงเกิดปัญหากลิ่นจากก๊าซไข่เน่าจากบ่อเกรอะลอยขึ้นสู่ที่สูง กลิ่นเน่าเหม็นเหล่านี้ก็จะลอยขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้งที่ต่อเข้ากับบ่อเกรอะ
วิธีการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะลอยขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้ง โดยการแยกท่อน้ำทิ้งลงบ่อพักน้ำเสียจากท่อน้ำทิ้งโดยตรง และไม่ควรให้บ่อรับน้ำทิ้งอยู่ใกล้กับบ่อเกรอะจนเกินไป ควรใช้จุลินทรีย์ย่อยสลายทำความสะอาดท่อน้ำทิ้งเป็นระยะๆ เพื่อลดของเสียต่างๆที่เกาะอยู่ตามท่อน้ำทิ้ง กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ ห้องส้วมเกิดขึ้นในจุดใดบ้าง ? 1 ) ในโถส้วม หรือ ภายในชักโครก ที่มีสิ่งสกปรกเกาะติดตกค้างอยู่รอบๆคอห่านด้านใน 2 ) ท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ หรือ ท่อระบายน้ำทิ้งในห้องน้ำ หรือ ท่อเดรนทิ้งน้ำเสียในห้องน้ำ ของเสียอาจเกาะติดตามท่อซึ่งจะต่อไปลงที่บ่อพักน้ำทิ้งในห้องน้ำ หรือ อาจจะไปลงที่บ่อเกรอะจุดเดียว ( กรณีที่ต่อท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะที่เดียว ) 3 ) โถปัสสาวะ ( กรณีที่มีการติดตั้งโถปัสสาวะรวมกันอยู่ในห้องน้ำร่วมด้วย ) 4 ) อ่างล้างหน้า อ่างล้างมือ ในห้องน้ำ น้ำทิ้งในอ่างล้างหน้าอ่างล้างมือโดยทั่วไปจะต่อลงท่อน้ำทิ้งไปยังบ่อรับน้ำทิ้งจากห้องน้ำอีกบ่อ ( บ่อเดียวกันกับบ่อรับน้ำทิ้งจากท่อระบายน้ำทิ้งในห้องน้ำ ) แต่มีบางแห่งอาจจะต่อท่ออ่างล้างมือลงไปรวมกันกับบ่อเกรอะ ( เพราะมีบ่อเกรอะบ่อเดียว ไม่มีบ่อรับน้ำเสียจากห้องน้ำ ) ประเภทนี้จะสร้างปัญหาเรื่องกลิ่นมากๆ พบบ่อยๆ กลิ่นจากด้านล่างจะลอยขึ้นสู่ที่สูง 5 ) ตามพื้นห้องน้ำ สิ่งสกปรกที่ตามองไม่เห็นอาจจะหกเรี่ยราดหรือกระเซนอยู่ตามพื้นห้องน้ำ โดยเฉพาะปัสสาวะ 6 ) กลิ่นเน่าเหม็นต่างๆที่ลอยขึ้นมาจากบ่อเกรอะชั้นใต้ดิน ปัญหาในกรณีนี้พบบ่อยๆ กลิ่นเน่าเหม็นต่างๆที่ลอยขึ้นมาจากบ่อเกรอะ ( บ่อรวมรับของเสียจากชักโครกและห้องน้ำ ) มันจะลอยขึ้นสู่ที่สูงเพราะมีมวลเบา และกลิ่นเหล่านี้จะกระจายไปตามท่อที่ต่อเข้ากับบ่อเกรอะ ( ทุกๆท่อที่ต่อเชื่อมเข้ากับบ่อเกรอะ ) เช่น กรณีที่ต่อท่ออ่างล้างมือเข้ากับบ่อเกรอะ ต่อท่อน้ำทิ้งหรือท่อระบายน้ำในห้องน้ำเข้ากับบ่อเกรอะ ต่อท่อโถปัสสาวะเข้ากับบ่อเกรอะเป็นต้น การใช้สารเคมีกลบกลิ่นเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าหรือชั่วคราวเท่านั้น หลักการที่ถูกต้อง ต้องใช้จุลินทรีย์ในการบำบัดกลิ่นและย่อยสลายของเสียแบบธรรมชาติ จุดที่มีปัญหากลิ่นเหม็นแรงและมีปัญหามากที่สุด คือ ชักโครกหรือโถส้วม รองลงมือ คือ ท่อเดรนหรือท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ กลิ่นเหม็นมาจากบ่อเกรอะและของเสียที่ติดเกาะตามท่อลำเลียงน้ำเสีย จุดชักโครกหรือโถส้วม คือ จุดที่รับของเสียทั้งหมดจากการนั่งส้วม ของเสียที่ไปจากเราท่านจะลงในจุดนี้ทั้งหมด และของเสียทั้งหมดตรงจุดนี้ก็จะไหลลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะ ซึ่งเป็นบ่อรับของเสียจากชักโครกหรือโถส้วมทั้งหมดจะลงในบ่อนี้ ในความเป็นจริงบ้านหลังหนึ่งหรืออาคารอาคารหนึ่งต้องมี 1. บ่อเกรอะ 2. บ่อรับน้ำเสียจากน้ำทิ้งในห้องน้ำ ( ที่เกิดจากการอาบน้ำและซักผ้า ) ซึ่งต้องแยกบ่อทั้งสองบ่อนี้ออกจากกัน เพื่อป้องกันปัญหากลิ่นตีกลับและการแยกบำบัดน้ำเสีย ทั้งสองบ่อนี้ไม่ควรรวมกัน แต่บ้านจำนวนมากและหลายๆอาคารมักจะรวมเป็นบ่อเดียวกัน เพราะเนื้อที่จำกัดและง่ายต่อการก่อสร้าง กลิ่นไม่พึงประสงค์หรือกลิ่นเหม็นต่างๆมักมาจากจุดนี้ คือ จากบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นจากบ่อเกรอะจะลอยจากที่ต่ำใต้พื้นดินลอยขึ้นสู่ที่สูง โดยเฉพาะในช่วงที่มีการใช้ห้องน้ำหรือกดชักโครก ของเสียและน้ำจะทะลักลงในบ่อเกรอะ จะส่งผลให้เกิดก๊าซและกลิ่นเหม็นลอยขึ้นมาที่ชักโครกและท่อเดรนหรือท่อน้ำทิ้ง ( กรณีที่ต่อท่อน้ำทิ้งรวมกันกับบ่อเกรอะ ) กลิ่นจะโชยขึ้นมาตามท่อลำเลียงของเสียและน้ำเสีย ส่งผลให้ห้องน้ำส่งกลิ่นเหม็นนั่นเอง นี่คือที่มาของกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ ห้องส้วม ดังนั้น ต้องกำจัดของเสียที่เกาะติดค้างตามท่อลำเลียงน้ำทิ้งในห้องน้ำให้สะอาด รวมถึงบำบัดของเสียในบ่อเกรอะโดยการใช้จุลินทรีย์ย่อสลาย ไม่ใช่การใช้สารเคมี ของเสียต่างๆในบ่อเกรอะต้องอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายเท่านั้น ถ้าบ่อเกรอะมีปริมาณจุลินทรีย์น้อยกว่าของเสียก็จะเกิดปัญหาเรื่องกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะ ดังนั้น ต้องเพิ่มหรือเติมจุลินทรีย์ลงไปในบ่อเกรอะให้เพียงพอกับปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจริง จึงจะขจัดปัญหากลิ่นไปม่พึงประสงค์ไปได้ การหมั่นเติมจุลินทรีย์อยู่เป็นประจำจะช่วยลดของเสียและกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ บ่อเกรอะไม่เต็มง่ายและไม่ส่งกลิ่นเหม็นอีกต่อไป ดังนั้น ในการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ในห้องน้ำ ห้องส้วม ต้องกระทำแบบบูรณาการทุกๆส่วนที่กล่าวมา ( ข้อ 1-5 ) ไม่ว่าจะใช้สารเคมีกำจัดกลิ่นหรือ สารธรรมชาติกำจัดกลิ่นก็ตาม กรณีใช้สารเคมีดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ในห้องน้ำก็สามารถใช้ได้ แต่จะมีปัญหาเรื่องสารเคมีตกค้างในห้องน้ำและสารเคมีบางชนิดอาจส่งผลกระทบต่อระบบหายใจและปอดของมนุษย์ที่ใช้ห้องน้ำบ่อยๆได้ ซึ่งจะแตกต่างไปจากการใช้สารจากธรรมชาติ ที่ไม่ใช่สารเคมีไม่มีผลกระทบต่อมนุษย์ จุลินทรีย์ชีวภาพถือว่าเป็นสารธรรมชาติที่มีชีวิตอีกตัวหนึ่งที่มีการนำมาใช้แก้ไขปัญหาดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น ห้องน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์ โดยเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ชีวภาพที่มีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดกลิ่น ( จุลินทรีย์อีเอ็ม ) ซึ่งสามารถดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้เป็นอย่างดี และเป็นการกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ที่ตรงจุดและเป็นธรรมชาติมากที่สุด ไม่ส่งผลกระทบใดๆต่อสิ่งแวดล้อม ในทางตรงกันข้ามกลับช่วยลดมลภาวะและมลพิษในสิ่งแวดล้อม ทั้งกลิ่นไม่พึงประสงค์และของเสียต่างๆบนโลกใบนี้ การใช้จุลินทรีย์กลุ่มที่มีประโยชน์แก้ปัญหามลภาวะกลิ่นเน่าเหม็นในห้องน้ำถือว่าเป็นการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดและตรงประเด็น ของเสียทุกๆชนิด โดยเฉพาะของเสียที่เกิดจากสารอินทรีย์ที่เกิดการเน่าเหม็นขึ้นล้วนต้องพึ่งพาอาศัยกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการบำบัดทั้งสิ้น
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการดูแลห้องน้ำ ห้องส้วม ไม่ควรใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อจุลินทรีย์ในห้องน้ำ และ ในบ่อเกรอะ เช่น สารเคมีที่เป็นกรด หรือ ด่าง มีฤทธิ์กัดกร่อนและทำลายจุลินทรีย์ส่งผลให้จุลินทรีย์ในห้องน้ำและบ่อเกรอะตายได้ง่ายๆ ซึ่งผลที่ติดตามมาก็คือ บ่อเกรอะส่งกลิ่นเหม็นมากยิ่งขึ้น เพราะไม่มีจุลินทรีย์ไปบำบัดและย่อยสลายของเสียรวมถึงการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะ สารเคมีไม่ได้ช่วยย่อยสลายของเสียใดๆ แต่จะสร้างปัญหามลภาวะสารเคมีตกค้างและปนเปื้อน ควรระมัดระวังในข้อนี้ เพราะมีปรากฎการณ์รู้เท่าไม่ถึงการในการใช้สารเคมีในห้องน้ำแล้วส่งผลให้จุลินทรีย์ย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะตายยกบ่อ ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์บ่อเกรอะและห้องน้ำเกิดมลพิษและมลภาวะขึ้นได้ง่ายๆ จุลินทรีย์หอมคาซาม่า เป็นกลุ่มจุลินทรีย์หอมที่มีประโยชน์และมีประสิทธิภาพในการดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นรวมไปถึงมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียที่เกิดขึ้นอีกด้วย เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาในการดับกลิ่นและบำบัดน้ำเสีย ใช้แล้วมีกลิ่นหอมทันทีไม่ต้องรอนานจึงเหมาะสำหรับใช้งานในการดับกลิ่นเน่าเหม็นหรือกำจัดกลิ่นน้ำเน่าเหม็นและของเสียที่เกิดมาจากสารอินทรีย์ คุณสมบัติของจุลินทรีย์หอมคาซาม่า - ใช้บำบัดน้ำเสียให้เป็นน้ำดี - ย่อยสลายสารอินทรีย์วัตถุให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง - ย่อยสลาย Greas & Oil ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ - ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ทุกชนิด - ดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น หรือ กำจัดกลิ่นส้วมเหม็น ฯ ล ฯ จุลินทรีย์หอมคาซาม่าเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียที่ไม่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสีย สามารถใช้ได้กับระบบบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบที่มีปัญหาอออกซิเจนละลายในน้ำเสียไม่เพียงพอ ( ค่า DO ในน้ำเสียต่ำ ) ซึ่งทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายที่ใช้ออกซิเจเป็นหลักในการทำปฏิกิริยาย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียไม่ทำงาน จึงส่งผลให้น้ำเสียวิกฤตมากยิ่งขึ้นนั่นเอง รวมทั้งกลิ่นเน่าเหม็นต่างๆสะสมมากขึ้น การดับกลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ โดยเฉพาะในบ่อบำบัดน้ำเสียที่ส่งกลิ่นเหม็นอย่างรุนแรง จุลินทรีย์คาซาม่าจะเข้าไปกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นเหล่านี้ รวมทั้งการย่อยสลายของเสียและบำบัดน้ำเสียเหมือนกลุ่มจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนในการทำปฏิกิริยา จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ( จุลินทรีย์หอม-kasama ) ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นประเภทใดได้บ้าง? จุลินทรีย์หอม-kasama ดับกลิ่นหรือกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. กลิ่นเน่าเหม็นจากสารอินทรีย์ ( สารที่มาจากพืชและสัตว์ ) น้ำเน่าเสีย น้ำเน่าเหม็น 2. กลิ่นเหม็นในบ่อเกรอะ กลิ่นเหม็นส้วม กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำ 3. กลิ่นเหม็นจากปัสสาวะและอุจจาระทั้งคนและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด 4. กลิ่นเหม็นในบ่อบำบัดน้ำเสีย ที่เกิดจากการเก็บของเสียต่างๆในบ่อบำบัดน้ำเสียทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นขึ้นมา 5. กลิ่นคาวเลือดหรือคาวปลาในโรงงานเชือดไก่ เชือดสุกร หรือโรงงานเชือดปลา เป็นต้น 6. กลิ่นจากบ่อขยะ หรือกลิ่นจากถังขยะที่ส่งกลิ่นเหม็นฟุ้งกระจายไปทั่วบริเวณ 7. กลิ่นเหม็นจากท่อระบายน้ำทิ้ง กลิ่นเหม็นจากน้ำที่เน่าเสีย 8. กลิ่นเน่าเหม็นจากไขมัน จากบ่อดักไขมันตามร้านอาหารหรือโรงอาหาร เป็นต้น 9. กลิ่นเหม็นจากการหมักพืชและสัตว์ 10. กลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆที่นอกเหนือไปจากที่กล่าวมาทั้งหมด กลิ่นใดที่จุลินทรีย์หอมคาซาม่าดับไม่ได้หรือกำจัดกลิ่นไม่ได้ ? กลิ่นที่เกิดขึ้นจากสารเคมีจำพวกกรดหรือด่างที่มีฤทธิ์ทำลายหรือกัดกร่อนสูง วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็นด้วยจุลินทรีย์หอมคาซาม่า ให้ใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าแบบเพียวๆ ( ไม่ต้องผสมน้ำเปล่า ) ซึ่งจะส่งผลให้การกำจัดกลิ่นได้รวดเร็วและทันใจ การใช้งานให้ใช้แบบบูรณาการทุกๆส่วนในห้องน้ำ ปริมาณของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าให้ใช้ตามความเหมาะสม ใช้มากได้ แต่ไม่ควรใช้น้อยจนเกินไป เพราะอาจเกิดประโยชน์น้อยตามไปด้วย การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าแบบบูรณาการเป็นอย่างไร? คือการใช้แบบทุกส่วนในห้องน้ำที่เป็นจุดสะสมของเสียต่างๆ เช่น ในชักโครกหรือโถส้วม ในอ่างล้างมือ ตามพื้นห้องน้ำทั้งหมด ตามท่อน้ำทิ้งหรือท่อระบายน้ำทิ้งในห้องน้ำทุกๆจุด โถปัสสาวะทุกๆจุด ( ถ้ามีในห้องน้ำนั้น ) ให้ใช้เป็นประจำอย่างต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ถามว่าทำไมต้องใช้เป็นประจำและต่อเนื่อง คำตอบ คือ ถ้ามีของเสียเกิดขึ้นในทุกๆวัน ก็มีความจำเป็นที่ต้องกำจัดของเสียในทุกๆวันนั่นเอง จุลินทรีย์ที่ใช้ในห้องน้ำจะไหลลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะ ซึ่งจะส่งผลดีอีกต่อหนึ่ง นั่นก็คือ ช่วยย่อยสลายของเสียในบ่อเกรอะและบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะโดยตรงรวมถึงการกำจัดกลิ่นเน่าเหม็นในบ่อเกรอะได้ทันที นี่คือผลดีและผลประโยชน์จากการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่า ไม่ส่งผลเสียใดๆต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เพราะไม่ใช่สารเคมีเป็นมิตรโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดมลพิษและมลภาวะในสิ่งแวดล้อมโดยตรง ทั้งการกำจัดกลิ่นและบำบัดน้ำเสียจากสารอินทรีย์ ประโยชน์ของการใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในห้องน้ำมีอะไรบ้าง? 1. ช่วยในเรื่องกำจัดกลิ่นในห้องน้ำหรือดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆในห้องน้ำโดยตรงแบบวิธีธรรมชาติ ส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง ไม่มีผลเสียใดๆแม้แต่น้อย 2. ช่วยย่อยสลายของเสียในห้องน้ำและในบ่อเกรอะ เพราะจุลินทรีย์ที่ใช้ในห้องน้ำจะไหลลงบ่อเกรอะทั้งหมด จึงส่งผลดีต่อบ่อเกรอะโดยตรงอีกทางหนึ่ง 3. ช่วยบำบัดน้ำเสียในบ่อเกรอะ ของเสียต่างๆที่ไปจากห้องน้ำล้วนลงไปรวมกันที่บ่อเกรอะ ดังนั้น จึงต้องอาศัยจุลินทรีย์บำบัดของเสียทั้งหมดที่ลงไปที่บ่อเกรอะ 4. ช่วยทำความสะอาดสิ่งสกปรกที่เกาะติดอยู่ตามท่อพีวีซีที่ต่อลงไปที่บ่อเกรอะ ทั้งต่อๆปจากชักโครกหรือโถส้วมและท่อน้ำทิ้งในห้องน้ำ ของเสียต่างๆที่เกาะติดอยู่ตามภายในท่อลำเลียงของเสียจะส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์ได้ กลิ่นต่างๆจะลอยขึ้นสู่ที่สูงในห้องน้ำ 5. ช่วยให้บรรยากาศในห้องน้ำมีกลิ่นหอมทันทีที่เริ่มใช้งาน ใช้เป็นประจำห้องน้ำก็ปราศจากกลิ่นไม่พึงประสงต์
วิธีใช้จุลินทรีย์-Kasama ดับกลิ่นเหม็นจากท่อน้ำทิ้ง ( ท่อเดรน ) เทจุลินทรีย์-Kasama ประมาณ 2-3 ลิตร/จุด ลงตรงท่อน้ำทิ้ง กรณีที่มีกลิ่นรุนแรงมากสามารถเพิ่มปริมาณจุลินทรีย์มากกว่า 2-3 ลิตรต่อจุดได้ และนำอีกส่วนหนึ่งประมาณ 2-3 ลิตรเทลงในชักโครก และสามารถนำจุลินทรีย์ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำได้ แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับกรดหรือด่าง เพราะอาจทำให้จุลินทรีย์ตายได้ง่ายๆ ให้ปฏิบัติเช่นนี้ต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณ 1 สัปดาห์หรือมากกว่านี้ก็ได้ เพื่อจะได้ลดกลิ่นให้ได้มากที่สุด ข้อแนะนำพิเศษ โดยทั่วไปในบ่อเกรอะจะมีจุลินทรีย์ย่อยสลายอยู่ส่วนหนึ่งจำนวนไม่มาก เพื่อย่อยสลายสิ่งปฏิกูล ดังนั้นจึงไม่ควรใช้สารเคมีที่เป็นอันตรายหรือทำลายจุลินทรีย์เทลงในท่อน้ำทิ้ง( ท่อเดรน )หรือชักโครก เช่น โซดาไฟ กรดซัลฟูริก กรดไนตริก เป็นต้น เพราะจะทำให้จุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งปฏิกูลในบ่อเกรอะถูกทำลาย ซึ่งจะส่งผลให้สิ่งปฏิกูลไม่ถูกย่อยสลาย ส้วมเต็มง่าย เกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อม
เข้าสู่ฤดูฝนเกิดอะไรขึ้นกับห้องน้ำห้องส้วมที่มีปัญหาส่งกลิ่นเหม็น? ส้วมหรือห้องน้ำที่ต่อท่อน้ำทิ้ง ( ท่อเดรน )เข้ากับบ่อเกรอะ ( บ่อที่รับของเสียจากชักโครก ) อาจมีปัญหาก๊าซไข่เน่าจากบ่อเกรอะลอยขึ้นมาตามท่อน้ำทิ้งหรือท่อเดรนเมื่อกดชักโครก ซึ่งจะสิ่งผลก่อให้เกิดกลิ่นก๊าซไข่เน่า กลิ่นไม่พึงประสงค์อื่นๆติดตามมาได้ โดยเฉพาะฤดูฝนสำหรับบ่อเกรอะที่เป็นบ่อดินหรือบ่อปูน เมื่อฝนตกน้ำจากใต้ดินจะอิ่มและดันตัว จะทำให้ก๊าซเกิดการลอยตัวสู่ที่สูง ถ้ามีการต่อท่อน้ำทิ้งลงที่บ่อเกรอะ จะทำให้เกิดกลิ่นหรือก๊าซลอยตัวขึ้นมาได้ หรือกรณีที่มีของเสียสะสมอยู่ในท่อน้ำทิ้งจำนวนมาก ซึ่งท่อน้ำทิ้งส่วนใหญ่จะเป็นท่อพีวีซี ของเสียต่างๆที่เกิดจากกิจกรรมในห้องน้ำ ทั้งสบู่ ทั้งแชมพูและอื่นๆจะไหลผ่านท่อน้ำทิ้ง และจะมีบางส่วนเกาะติดอยู่ตามแนวท่อน้ำทิ้ง เมื่อสะสมเป็นเวลานานๆเข้า จะทำให้เกิดกลิ่นขึ้น ดังนั้นกลิ่นจากห้องน้ำหรือห้องส้วมจึงมากจากจุดเหล่านี้ การแก้ไขปัญหาไม่ต้องไปทุบส้วมหรือท่อน้ำทิ้ง ง่ายๆด้วยการใช้จุลินทรีย์อีเอ็มชนิดเข้มข้นสูง-Kasama ทำความสะอาดตามคำแนะนำ สิ่งที่ไม่ควรกระทำอย่างยิ่งในการแก้ปัญหากลิ่นเน่าเหม็นจากห้องน้ำห้องส้วม การแก้ปัญหากลิ่นห้องน้ำและกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่
จุลินทรีย์อีเอ็มของเราผลิตและสังเคราะห์จากหัวเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์โดยตรงเท่านั้น ไม่ใช่ผลิตจากการหมักพืชผักที่ใช้สำหรับการเกษตรปุ๋ยหมักชีวภาพ ซึ่งไม่เหมาะสมกับการนำมาใช้บำบัดน้ำเสียและกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ต่างๆ เพราะจะเป็นการซ้ำเติมและเพิ่มปัญหาให้วิกฤตมากขึ้นกว่าเดิม น้ำเสียมากกว่าเดิม กลิ่นรุนแรงมากกว่าเดิมได้
จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/การบำบัดน้ำเสียในคอนโดมิเนียมทุกๆแห่ง กดดูที่นี่.. จุลินทรีย์เติมบ่อบำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์ใส่บ่อบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... ปัญหาบ่อเติมอากาศส่งกลิ่นเหม็นเกิดจากสาเหตุใด ? คลิกดูที่นี่.. เทคนิคการลดค่า BOD สูงในน้ำเสียทุกๆแห่ง คลิกดูที่นี่.. การบำบัดน้ำเสียและบำบัดกลิ่นในโรงงานไอศครีมทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานปลาหมึกทุกๆแห่ง คลิกที่นี่.. การแก้ปัญหาน้ำเสียและกลิ่นในโรงงานขนมจีนทุกๆแห่ง คลิกที่นี่... การเช็คค่า BOD , pH , DO ของระบบบำบัดน้ำเสีย คลิกดูที่นี่... วิธีการลดค่า BOD , SS , TDS ในโรงงานปลากระป๋อง คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสีย/จุลินทรีย์หอมบำบัดน้ำเสียทุกๆระบบ คลิกที่นี่..
จุลินทรีย์หอมคาซาม่ากับการดับกลิ่นบำบัดกลิ่น ดูหัวข้อที่สนใจ กดดูที่ลิ้งค์ด้านล่างนี้ จุลินทรีย์ดับกลิ่นส้วม/ดับกลิ่นส้วมเหม็น คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำ คลิกดูที่นี่.. วิธีดับกลิ่นห้องน้ำเหม็น/วิธีแก้ห้องน้ำมีกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นบ่อเกรอะเหม็น/ดับกลิ่นบ่อส้วมเหม็น คลิกที่นี่.. ปัญหากลิ่นในห้องน้ำมาจากอะไร ? คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่น คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์หอมดับกลิ่น / จุลินทรีย์หอมบำบัดกลิ่น คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นคาวปลา ดับกลิ่นคาวเลือด คลิกที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นฟาร์มเลี้ยงหมู คลิกที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นห้องน้ำในปั๊มน้ำมัน คลิกดูข้อมูลที่นี่.. จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกดูที่นี่.. จุลินทรีย์บ่อเกรอะ/จุลินทรีย์ใส่บ่อเกรอะ คลิกดูที่นี่.. การใช้จุลินทรีย์หอมคาซาม่าในบ่อเกรอะ(บ่อส้วม) คลิกดูที่นี่... จุลินทรีย์ดับกลิ่นเหม็นทุกๆชนิด คลิกที่นี่..
|